หน้าหลัก    เกี่ยวกับเรา   การบริการทางวิชาชีพด้านกฎหมาย   การบริการทางบัญชี   บริการรับแปลเอกสาร   บทความ   เว็บบอร์ด   ติดต่อเรา   คุยกับกรรมการผู้จัดการ 


แพ่งและพาณิชย์ทั่วไป

ที่ดินและอสังหาริมทรัพย์

การค้าระหว่างประเทศ

กฎหมายปกครอง

แรงงาน

ทรัพย์สินทางปัญญา

การเงินธนาคาร ประกันภัย...

ภาษีอากร

คดีผู้บริโภค

กฎหมายเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์

กฎหมายอาญาและกฎหมายเกี่ยวกับนักการเมือง

 
เปิดเว็บไซต์ 18/02/2009
ปรับปรุง 04/03/2024
สถิติผู้เข้าชม 1,210,831
Page Views 1,510,073
 

จดหมายข่าว

กรอก Email เพื่อรับข่าวสาร
 

บทความ

กฎหมายเกี่ยวกับหุ้นส่วนและบริษัท

คดีผู้บริโภค

กฎหมายอาญา

กฎหมายแรงงาน

 

ภาษีอากร

ภาษีอากร

สัญญาแฟรนไชส์มีภาระภาษีอย่างไร

          สัญญาแฟรนไชส์  คือ ระบบการทำธุรกิจระหว่างบุคคลสองฝ่าย  ฝ่ายแรกคือผู้ให้สิทธิทางการค้าหรือแฟรนไชส์เซอร์เป็นเจ้าของสินค้า  เครื่องหมายการค้า  และระบบธุรกิจในต่างประเทศ ซึ่งมักเป็นธุรกิจที่มีชื่อเสียงและประสบความสำเร็จในการดำเนินธุรกิจ  ทำการขยายกิจการโดยยอมให้ผู้รับสิทธิทางการค้าหรือแฟรนไชส์ซี่

         โดยผู้ให้สิทธิทางการค้า หรือแฟรนไชส์เซอร์จะเป็นผู้วางแผนการขายและรูปแบบการจัดการให้ โดยที่แฟรนไชส์ซี่จะดัดแปลงธุรกิจตามใจชอบมิได้ ถ้าจะดัดแปลงต้องขออนุญาตจากแฟรนไชส์เซอร์ก่อน   เพราะเนื่องจากแฟรนไชส์เซอร์ต้องการควบคุมคุณภาพสินค้า และบริการให้เป็นมาตรฐานเดี่ยวกัน  และแฟรนไชส์ซี่จะต้องจ่ายค่าตอบแทนให้แก่แฟรนไชส์เซอร์โดยอาจจ่ายในรูปของค่าธรรมเนียม  ค่ารอยัลตี้หรือค่าสิทธิโดยปกติคิดเป็นเปอร์เซ็นต์จากยอดขายของแฟรนไชส์ซี่  แฟรนไชส์บางแห่งอาจคิดค่าโฆษณาร่วมกับแฟรนไชส์ซี่บางครั้ง แฟรนไชส์เซอร์อาจร่วมลงทุนกับแฟรนไชส์ซี่ด้วย

          ดังนั้นจึงมีค่าสิทธิซึ่งเป็นเงินได้พึงประเมินตามมาตรา  40(3) เมื่อมีการจ่ายและรับเงินกันตามเงื่อนไขที่สัญญาแฟรนไชส์กำหนดไว้  ย่อมเกิดภาระภาษี ภาษีที่เข้ามาเกี่ยวข้องแบ่งออกได้เป็น 2 กรณี  คือ

               1. ภาษีทางตรง  คือภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา  และภาษีเงินได้นิติบุคคล
               2. ภาษีการบริโภคหรือภาษีทางอ้อม หรือก็คือภาษีมูลค่าเพิ่ม นั้นเอง

Tags :